Panjavidhya Technological College

2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา

2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา

สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจานวนตามเกณฑ์ที่กาหนด ได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อเป็นผู้พร้อมทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทั้งวัยเรียนและวัยทางาน ตามหลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา ตามระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนของแต่ละหลักสูตร ส่งเสริม สนับสนุน กากับ ดูแลให้ครูจัดการเรียนการสอนรายวิชาให้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์

ผลสัมฤทธิ์

2. ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา

ผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีช่างฝีมือปัญจวิทยา

2.1) การจัดการเรียนการสอน

2.1.1) เชิงปริมาณ : 1.จานวนครูผู้สอนที่มีคุณวุฒิทางการศึกษาตรงตามสาขาวิชาที่สอน 42 คน

2. จานวนครูที่มีแผนการจัด การเรียนรู้ครบทุกรายวิชาที่สอน 42 คน

3. จานวนครูที่จัดการเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการเรียน รู้ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย 42 คน

4. จานวนครูที่ใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และ แหล่งการเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน 42 คน

5. จานวนครูที่ทาวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ และแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ 42 คน

2.1.2) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของครูผู้สอนที่มีคุณภาพในการจัดการเรียนการสอน คิด เป็นร้อยละ 100

2.1.3) ผลสะท้อน : ทาให้สถานประกอบการที่วิทยาลัยฯ ส่งนักเรียน นักศึกษาออกฝึกงานมีความพอใจในคุณภาพของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.3 และ ปวส.2 รวมทั้งผู้ปกครองได้รับรายงานผลการศึกษาของนักศึกษาโดยรวมในระดับดีนักศึกษาจบการศึกษาตามเกณฑ์และกาหนดของหลักสูตร ในการรับครูเข้าทาการเรียนการสอน วิทยาลัยฯ กาหนดให้ครูทุกคนจบการศึกษาตามวุฒิที่ตรงกับการเรียนการสอน และมีการส่งครูผู้สอนไปพัฒนาด้านวิชาการ วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง มีการกาหนดจากฝ่ายวิชาการให้ครูผู้สอนจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ครบทุกรายวิชาที่สอน และพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียน โดยใช้สื่อ อุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอน พร้อมทั้งกาหนดให้ผู้สอนทุกคนต้องจัดทาวิจัยในชั้นเรียนเป็นประจาทุกปี
45

2.2) การบริหารจัดการชั้นเรียน

2.2.1) เชิงปริมาณ : 1. จานวนครูผู้สอนที่จัดทาข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล 42 คน

2. จานวนครูผู้สอนที่มีข้อมูลสารสนเทศหรือเอกสารประจาชั้น เรียนและรายวิชาเป็นปัจจุบัน 42 คน

3. จานวนครูผู้สอนที่ใช้เทคนิควิธีการบริหารจัดการชั้นเรียนให้มี บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 42 คน

4. จานวนครูผู้สอนที่ใช้วิธีการเสริมแรงให้ผู้เรียนมีความมุ่งมั่น ตั้งใจในการเรียน 42 คน

5. จานวนครูผู้สอนที่ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคลด้านการ เรียนและด้านอื่นๆ 42 คน

2.2.2) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของครูผู้สอนที่มีคุณภาพในการบริหารจัดการชั้นเรียน คิดเป็นร้อยละ 100

2.2.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ ได้รับความมั่นใจจากผู้ปกครองจากการบริหารจัดการชั้นเรียนทาให้นักศึกษาได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด และนักศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีปัญหาด้านพฤติกรรมในการเรียน การดาเนินการของวิทยาลัยฯ ในการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชากาหนดให้ครูผู้สอนจัดทาข้อมูลของผู้เรียนในเรื่องของพฤติกรรม คะแนน งาน ความก้าวหน้าของนักเรียน และจัดสรุปรายงานทั้งในรายวิชาที่สอนและเอกสารประจาชั้น แผนการจัดการเรียนรู้นาสู่การเรียนการสอนการฝึกปฏิบัติ โดยจัดเป็นสถานีเฉพาะทักษะให้ผู้เรียนได้ลงปฏิบัติจริงและประเมินผลเป็นขั้นตอนโดยบันทึกพฤติกรรมจากการปฏิบัติและผลงานที่เกิดขึ้น มีการใช้สื่อประกอบการสอนในรายวิชาทฤษฏีในห้องเรียน และใช้อุปกรณ์การฝึก เครื่องมือที่ทันสมัย ประกอบกับโปรแกรมสำเร็จรูปและข้อมูลจากสื่อทางอินเทอร์เน็ต โดยกาหนดแนวทางการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยรูปแบบที่หลากหลายเช่นจากการสังเกต การวัดจากกิจกรรมที่ทาร่วมกับผู้อื่น กิจกรรมของสถานศึกษาในงานวันวิชาการ งานบริการชุมชน

2.3) การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน

2.3.1) เชิงปริมาณ : จานวนห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็ว สูงในการจัดการเรียนการสอน 34 ห้อง

2.3.2) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เน็ต ความเร็วสูงในการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 68

2.3.3) ผลสะท้อน : ครูผู้สอนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนการสอน การใช้สื่อ ประกอบการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ ทาให้นักศึกษามีความสนใจในการค้นคว้าหาความรู้จากสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างมีคุณภาพ ตลอดจนความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ 3.98 อยู่ในระดับมาก พบว่าในข้อที่ครูสามารถค้นหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตเพื่อใช้ในการเตรียมและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รวมถึงนักเรียนสามารถเข้าถึงการใช้อินเตอร์เน็ตภายในห้องเรียนเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนของครูผู้สอนในรายวิชาได้เช่นกัน แต่ก็ยังไม่คลอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด เนื่องจากบางส่วนยังอยู่ในส่วนที่วางแผนและพัฒนาต่อไป ในการจัดระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของวิทยาลัยฯ ซึ่งมีห้องเรียนที่อยู่ในอาคารปัญยาลักษณ และอาคารเทพประทาน ส่วนอาคารเทียนสว่างอยู่ระหว่างการปรับปรุง ซึ่งมีห้องเรียนจานวน 6 ห้อง ทางวิทยาลัยฯ แก้ปัญหาเบื้องต้น โดยจัดใช้ห้องเรียนที่จาเป็นต้องมีสัญญาณอินเทอร์เน็ตเข้าถึงในการเรียนรายวิชาที่จาเป็น