Panjavidhya Technological College

2.3 ด้านการบริหารจัดการ

2.3 ด้านการบริหารจัดการ

สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ์ และงบประมาณของสถานศึกษาที่มีอยู่อย่างเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพ 2.4 ด้ำนกำรนำนโยบำยสู่กำรปฏิบัติ สถานศึกษามีความสำเร็จในการดาเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายสาคัญที่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน รวมทั้งการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน สถานประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน

ผลสัมฤทธิ์

3. ด้านการบริหารจัดการ

ผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาด้านการบริหารจัดการ ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้

3.1) การพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพ

3.1.1) เชิงปริมาณ : 1. จานวนครูผู้สอนที่มีจัดทาแผนพัฒนาตนเองและเข้าร่วม การพัฒนาวิชาชีพ 0 คน

2. จานวนครูผู้สอนที่ได้รับการพัฒนาตนเองอย่างน้อย 12 ชั่วโมงต่อปี 42 คน

3. จานวนครูผู้สอนที่นาผลจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพใช้ ในการจัดการเรียนการสอน 42 คน

4. จานวนครูผู้สอนที่มีผลงานจากการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ 42 คน

5. จานวนครูผู้สอนที่มีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนา วิชาชีพที่ได้รับการยอมรับหรือเผยแพร่ 0 คน

3.1.2) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของครูผู้สอนที่ได้รับการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ 60 %

3.1.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยมีบุคลากรด้านการสอนที่มีคุณภาพ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ทาให้ผู้เรียนมีคุณภาพ เมื่อสำเร็จการศึกษา สามารถปฏิบัติงานในสถานประกอบการและหน่วยงานอื่นๆ อย่างมีคุณภาพ ในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาของวิทยาลัยฯ ทั้งหมด ไม่เคยผ่านการอบรมการจัดทาแผนพัฒนาตนเอง (ID PLAN) เนื่องจากไม่มีการแนะนาจากต้นสังกัด จึงไม่สามารถผลิตผลงานจากการพัฒนาตนเองไดู้ แต่วิทยาลัยฯ ได้ดาเนินการให้บุคลากรได้รับการพัฒนาโดยจัดโครงการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องในทุกภาคเรียน และให้เข้ารับการอบรมนาความรู้ไปดาเนินการสร้างผลงานสู่การจัดการเรียนการสอนรายงานให้ฝ่ายงานที่รับผิดชอบ

3.2) การบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม

3.2.1) เชิงปริมาณ : ร้อยละของครูและบุคลากรที่มีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษา 52 คน

3.2.2) เชิงคุณภาพ : วิทยาลัยฯจัดให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนในการกาหนดมาตรฐานการศึกษา แผนพัฒนาสถานศึกษา แผนปฏิบัติงานประจาปี ผ่านการประชุมครูประจาเดือน การประชุมของกลุ่มงาน โดยกลุ่มงานต่างๆ นาผลการประชุม มาสังเคราะห์จนได้แผนต่างๆ ดังกล่าว ผลการประเมินคุณภาพ อยู่ในระดับดีเลิศ

3.2.3) ผลสะท้อน : การดาเนินงานของวิทยาลัยฯ ตลอดปีการศึกษาได้รับความร่วมมือจากบุคลากรทุกส่วนเพราะดาเนินการภายใต้มาตรฐาน แผนงาน โครงการที่ร่วมกันกาหนด ทาให้ผลการดาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย เกิดผลต่อผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก ผู้ปกครอง สถานประกอบการ และสังคม

3.3) การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา

3.3.1) เชิงปริมาณ : วิทยาลัย ฯ จัดให้มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง 300/300 Mp bs สาหรับบริหารจัดการภายในนวิทยาลัยฯ ครบทุกฝ่าย โดยมีการจัดการผ่านระบบ Server แม่ข่าย ไปยังเครื่องลูกข่าย

3.3.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม โดยวิทยาลัยฯได้ดาเนินการโดยผู้บริหารจัดให้มีข้อมูล โดยนาระบบการจัดารการสถานศึกษา เข้ามาช่วยการในการจัดการ อีกทั้งมีการนาเทคโนโลยี โดยนาโปรแกรมการบริหารจัดการข้อมูลมาใช้ Mis-School เข้ามาช่วยในการจัดการข้อมูล ผ่านระบบ Server โดยครบทุกฝ่าย เช่น

1.งานวิชาการ
2.งานทะเบียนวัดผล
3.งานการเงิน
4.งานปกครอง
5.งานดูแลโดยผู้บริหาร
6.งานครูประจาวิชาและที่ปรึกษา เป็นต้น

ซึ่งในแต่ละงาน ผู้เข้าใช้ระบบทุกคนจะมีชื่อผู้ใช้ และรหัสผ่านทุกคน และนาข้อมูลสารสนเทศไปใช้เผยแพร่ผ่าน เว็บไซต์ของสถานศึกษา www.panja.ac.th รวมถึงมีการประเมิน พัฒนา ปรับปรุงตลอดปีการศึกษา

3.3.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการที่หลากหลายและเป็นปัจจุบันทาให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการของผู้บริหาร และการปฏิบัติงานของครูผู้สอนและบุคลากรในทุกฝ่าย ลดปัญหาความซ้าซ้อม และลดระยะเวลาในการดาเนินงานลง

3.4) การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

3.4.1) เชิงปริมาณ : 1. ร้อยละของสาขาวิชาที่จัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคี คิดเป็นร้อยละ 50

2. ร้อยละของผู้เรียนที่ศึกษาในระบบทวิภาคี คิดเป็นร้อยละ 3.47

3.4.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม โดยวิทยาลัยฯ ได้ดาเนินการสารวจความพร้อมของสถานประกอบการประเภทศูนย์บริการรถยนต์ที่มีความสัมพันธ์ในการส่งนักเรียนเข้าฝึกงานอยู่เดิม และดาเนินการเซ็นบันทึกข้อตกลงกับสถานประกอบการเช่น บริษัทพระนครยนตรการจากัด บริษัทวัฒนาออโต้เซลล์จากัดเป็นต้น และประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาที่สนใจเข้าสมัครจานวนมากคัดเลือกโดยการสัมภาษณ์และประวัติการศึกษาจนเหลือประมาณ 30 คน ดาเนินการทาสัญญาการฝึก ปฐมนิเทศ และประชุมผู้ปกครองรวมทั้งจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้และแผนฝึก ส่งนักศึกษาเข้าสู่ระบบการเรียนการสอนและการฝีกประสบการณ์จัดให้นักศึกษาเรียนภาคเรียนที่ 1 ที่วิทยาลัยฯ โดยเรียนในเวลา 2 เท่าในรายวิชาของ ปวส. 1 จนครบทุกรายวิชาทางทฤษฎี แล้วส่งสถานประกอบการในภาคเรียนที่ 2 และ ภาคเรียนที่ 1 ในปีการศึกษาถัดไป และกลับมาเรียนในรายวิชาที่เหลือของระดับ ปวส.2 ในภาคเรียนที่ 2 ใช้เวลาเรียนสองเท่า ตลอดการปฏิบัติในสถานประกอบการได้จัดให้มีการนิเทศ และร่วมการวัดและประเมินผลกับสถานประกอบการ จนมีนักศึกษาจบการศึกษาในปีการศึกษา 2560 และ ปีการศึกษา 2561 โดยได้ติดตามนักศึกษาที่จบการศึกษาในปีการศึกษา 2560 และ 2561 อย่างต่อเนื่อง

3.4.3) ผลสะท้อน : การจัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคีของวิทยาลัยฯ ซึ่งตอบสนองความต้องการของสถานประกอบการในการรีบนักเรียน นักศึกษาเข้าฝึกงานในระบบเดิมที่นักเรียน นักศึกษาร่วมปฏิบัติงานในสถานประกอบการเป็นช่วงเวลาสั้น กลายเป็นการปฏิบัติงานเป็นเวลาต่อเนื่อง ซึ่งนักเรียน นักศึกษาได้รับประสบการณืในการทางานอย่างเพียงพอ เพิ่มพูลทักษะจริงในการศึกษาสายอาชีพอย่างแท้จริง และเมื่อจบการศึกษาสถานประกอบการก็พร้อมที่จะรับเข้าเป็นบุคลากร วิทยาลัยฯได้ดาเนินการ

3.5) การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน

3.5.1) เชิงปริมาณ : ร้อยละของสาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการระดมทรัพยากรเพื่อการ จัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 100

3.5.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม โดยวิทยาลัยฯมีโครงการประสานความร่วมมือด้านการบริจาคเพื่อการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมให้นักเรียนนักศึกษา บุคลากร ครู มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในด้านวิชาการ สามารถนาความรู้ไปใช้ และส่งเสริมการเรียนการสอนให้เกิดคุณภาพ และมีเครือข่ายความร่วมมือได้รับบริจาคอุกรณ์ ทุนการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญ และปัจจัยในการจัดการศึกษาจาก หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเช่น บริษัทผลธัญญะ จากัด Shell Eco Marathon บริษัท Honda จากัด มูลนิธิทิสโก้ คุณประพนต์ อัมระพยางฆ์ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) นักเรียนนักศึกษาได้รับความรู้จากวิทยากรจากภายนอกร้อยละ 100 ผลการดาเนินงานได้รับการระดมทรัพยากรและเกิดผลตามวัตถุประสงค์โครงการ โดยมีการประเมินผลเพื่อนามาพัฒนาในปีการศึกษา 2562 ต่อไป

3.5.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ ได้รับการบริจาคเงินทุน อุปกรณ์ และบุคลากรที่เป็นผู้เชี่ยวชาญมาบรรยานสร้างความเชื่อมั่นให้กับองค์กรทและบุคลากร ทั้งภายใน ภายนอก ถึงคุณภาพในการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา เกิดเครือข่ายขยายวงเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเพิ่มขึ้นทั้งจากศิษย์เก่าที่ประสบความสำเร็จ และหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

3.6) อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงานหรืองานฟาร์ม

3.6.1) เชิงปริมาณ : ร้อยละของห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ หรือโรงฝึกงานที่ได้รับการ พัฒนาให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 100

3.6.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินและข้อมูลอาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงานหรืองานฟาร์ม เนื่องจากวิทยาลัยฯ ย้ายจากที่เดิม (เขตจตุจักร) มาตั้งอยู่บนที่ตั้งใหม่ (ลาลูกกา) ซึ่งมีเนื้อที่ขนาดมากขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2558 และได้มีการออกแบบอาคาร โรงฝึกงาน ขนาดห้องเรียน ห้องปฏิบัติ ให้ได้มาตรฐานก่อนลงมือก่อสร้างโดยคานึงถึงความเพียงพอ และความพร้อมในการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนจัดหาสิ่งอานวยความสะดวกในด้านต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการใช้สอย ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ มีระบบความปลอดภัยที่ดี ผลการประเมินคุณภาพ อยู่ในระดับยอดเยี่ยม

3.6.3) ผลสะท้อน : เนื่องจากเป็นสถานศึกษาที่ก่อสร้างใหม่ ผู้ที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน ตลอดจนผู้ปกครอง ชุมชน ที่ได้เข้ามาใช้บริการหรือสัมผัสกับวิทยาลัยฯ ต่างชื่นชม ในความพร้อมของอาคารสถานที่ ตลอดจนภูมิทัศน์ของวิทยาลัยฯ

3.7) ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน

3.7.1) เชิงปริมาณ : ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ได้แก่ ระบบไฟฟ้า ระบบประปา การคมนาคมภายในสถานศึกษา ระบบการสื่อสารภายใน และระบบรักษาความปลอดภัยได้รับการบารุงรักษาและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง วิทยาลัยฯ ได้ออกแบบระบบไฟฟ้าที่สามารถรองรับการใช้ปริมาณไฟฟ้าเป็นจานวนมากได้โดยมีหม้อแปลงไฟไว้ถึง 2 จุด ส่วนระบบประปามีถังเก็บน้าใช้ทั้งเก็บใต้ดิน และบนหอสูง ซึ่งจัดไว้อย่างเพียงพอช่วงที่เปิดทาการ เส้นทางสัญจรโดยรอบวิทยาลัยฯ สะดวกสบายไม่มีจุดอับ ระบบความปลอดภัยใช้ทั้งคน และกล้องวงจรปิดทั่วบริเวณจานวน 36 ตัว ระบบการสื่อสารภายในทั่วถึง

3.7.2) เชิงคุณภาพ : วิทยาลัยฯ ได้จัดระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานไว้ค่อนข้างสมบูรณ์ เป็นผลให้ผู้เกี่ยวข้องที่ใช้บริการได้รับความสะดวกสบาย ผลการประเมิน อยู่ในระดับยอดเยี่ยม

3.7.3) ผลสะท้อน : ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับสูงต่อการใช้บริการระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานของวิทยาลัยฯ

3.8) แหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการ

3.8.1) เชิงปริมาณ : ร้อยละของผู้เรียนที่ใช้บริการแหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการ คิดเป็น ร้อยละ 87.29 โดยมียอดผู้เข้าใช้ภาคเรียนที่ 1 จานวน 1,044 คน จากยอดผู้เรียนทั้งหมด 1,228 คนและภาคเรียนที่ 2 จานวน 1,010 คน จากยอดผู้เรียนทั้งหมด 1,125 คน ค่าเฉลี่ยจึงเท่ากับ 87.29

3.8.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม โดยวิทยาลัยฯ มีแผนงาน โครงการ รองรับ ในโครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อม อาคาร ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์ ซึ่งแหล่งเรียนรู้อยู่ภายใต้โครงการนี้ด้วย ผู้รับผิดชอบจัดให้มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการศึกษา ค้นคว้า โดยมีเครื่องปรับอากาศ แสงสว่างเพียงพอ และจัดที่นั่งสาหรับผู้เข้ารับบริการอย่างเพียงพอ มีจานวนหนังสือในอัตรา 10.77 เล่มต่อนักเรียน นักศึกษา 1 คน มีการจัดกิจกรรมสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนเข้ารับบริการเช่นกิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน งานสัปดาห์ห้องสมุด และสัปดาห์อาเซี่ยน จนมีผู้เข้ารับบริการร้อยละ 87.29 และมีสื่อ อุปกรณ์ครบทุกสาขาวิชา

3.8.3) ผลสะท้อน : ผลการสารวจความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการอยู่ในระดับมากคือ 3.796

3.9) ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา

3.9.1) เชิงปริมาณ : ความเร็วของสัญญาณอินเทอร์เน็ต และครอบคลุมพื้นที่ใช้งานของ สถานศึกษา 300 Mpbs และครอบคลุมพื้นที่ใช้งาน

3.9.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินและข้อมูลระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา วิทยาลัยฯจัดให้มีการพัฒนาความเร็วของอินเตอร์เน็ตตามยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เพื่อใหทันต่อความต้องการของการใช้ติดต่อสื่อสาร โดยผู้ใช้งานทุกคนภายใน วิทยาลัยฯ สามารถใช้ความเร็วของสัญญาณได้เท่าๆ กัน ผ่านการจัดการระบบแบบ Manage Balance เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ส่วนงานด้านสารสนเทศนั้น วิทยาลัยฯ ใช้ระบบบริหารงานวิทยาลัยชื่อว่า MIS-SCHOOl ซึ่งเป็นระบบการจัดการ และสามารถนาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ได้ตามความต้องการ

3.9.3) ผลสะท้อน : ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในวิทยาลัยฯ พบว่าจากผลการตอบแบบสอบถามจากผู้ใช้งานทั้ง 3 กลุ่มได้แก่ผู้บริหาร ครู-บุคลากร และนักเรียน พบว่ามีระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ 4.06 จากที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ โดยทุกคนจะมีรายละเอียดชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านสาหรับการใช้รวมถึงความเร็วที่เข้าใช้นั้น ทุกคนจะใช้ความเร็วของสัญญาณอินเตอร์เน็ตได้เท่าๆกัน รวมถึงการใช้ข้อมูลสารสนเทศที่มาจากระบบบริหารจัดการ MIS-SCHOOL อีกด้วย รวมทั้งวิทยาลัยฯยังนาข้อมูลสารสนเทศบางส่วนเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของวิทยาลัยที่ www.panja.ac.th

3.10) การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน

3.10.1) เชิงปริมาณ : จานวนห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็ว สูงในการจัดการเรียนการสอน 34 ห้อง

3.10.2) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เน็ต ความเร็วสูงในการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 68

3.10.3) ผลสะท้อน : ครูผู้สอนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนการสอน การใช้สื่อ ประกอบการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ ทาให้นักศึกษามีความสนใจในการค้นคว้าหาความรู้จากสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างมีคุณภาพ ตลอดจนความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ 3.98 อยู่ในระดับมาก พบว่าในข้อที่ครูสามารถค้นหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตเพื่อใช้ในการเตรียม และจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รวมถึงนักเรียนสามารถเข้าถึงการใช้อินเตอร์เน็ตภายในห้องเรียนเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนของครูผู้สอนในรายวิชาได้เช่นกัน แต่ก็ยังไม่คลอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด เนื่องบางส่วนยังอยู่ในส่วนที่วางแผนและพัฒนาต่อไป ในการจัดระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของวิทยาลัยฯ ซึ่งมีห้องเรียนที่อยู่ในอาคารปัญยาลักษณ และอาคารเทพประทาน ส่วนอาคารเทียนสว่างอยู่ระหว่างการปรับปรุง ซึ่งมีห้องเรียนจานวน 6 ห้อง ทางวิทยาลัยฯ แก้ปัญหาเบื้องต้น โดยจัดใช้ห้องเรียนที่จาเป็นต้องมีสัญญาณอินเทอร์เน็ตเข้าถึงในการเรียนรายวิชาที่จาเป็น

4. ด้านการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ

ผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาด้านการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้

4.1) การจัดการอาชีวศึกษาสู่ระบบทวิภาคี

4.1.1) เชิงปริมาณ : 1. ร้อยละของสาขาวิชาที่จัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคี คิดเป็นร้อยละ 50 2. ร้อยละของผู้เรียนที่ศึกษาในระบบทวิภาคี คิดเป็นร้อยละ 3.47

4.1.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม โดยวิทยาลัยฯได้ดาเนินการสารวจความพร้อมของสถานประกอบการประเภทศูนย์บริการรถยนต์ที่มีความสัมพันธ์ในการส่งนักเรียนเข้าฝึกงานอยู่เดิม และดาเนินการเซ็นบันทึกข้อตกลงกับสถานประกอบการเช่น บริษัทพระนครยนตรการจากัด บริษัทวัฒนาออโต้เซลล์จากัดเป็นต้น และประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาที่สนใจเข้าสมัครจานวนมากคัดเลือกโดยการสัมภาษณ์และประวัติการศึกษาจนเหลือประมาณ 30 คน ดาเนินการทาสัญญาการฝึก ปฐมนิเทศ และประชุมผู้ปกครองรวมทั้งจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้และแผนฝึก ส่งนักศึกษาเข้าสู่ระบบการเรียนการสอนและการฝีกประสบการณ์จัดให้นักศึกษาเรียนภาคเรียนที่ 1 ที่วิทยาลัยฯ โดยเรียนในเวลา 2 เท่าในรายวิชาของ ปวส. 1 จนครบทุกรายวิชาทางทฤษฎี แล้วส่งสถานประกอบการในภาคเรียนที่ 2 และ ภาคเรียนที่ 1 ในปีการศึกษาถัดไป และกลับมาเรียนในรายวิชาที่เหลือของระดับ ปวส.๒ ในภาคเรียนที่ 2 ใช้เวลาเรียนสองเท่า ตลอดการปฏิบัติในสถานประกอบการได้จัดให้มีการนิเทศ และร่วมการวัดและประเมินผลกับสถานประกอบการ จนมีนักศึกษาจบการศึกษาในปีการศึกษา 2560 และ ปีการศึกษา 2561 โดยได้ติดตามนักศึกษาที่จบการศึกษาในปีการศึกษา 2560 และ 2561 อย่างต่อเนื่อง

4.1.3) ผลสะท้อน : การจัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคีของวิทยาลัยฯ ซึ่งตอบสนองความต้องการของสถานประกอบการในการรีบนักเรียน นักศึกษาเข้าฝึกงานในระบบเดิมที่นักเรียน นักศึกษาร่วมปฏิบัติงานในสถานประกอบการเป็นช่วงเวลาสั้น กลายเป็นการปฏิบัติงานเป็นเวลาต่อเนื่อง ซึ่งนักเรียน นักศึกษาได้รับประสบการณ์ในการทางานอย่างเพียงพอ เพิ่มพูนทักษะจริงในการศึกษาสายอาชีพอย่างแท้จริง และเมื่อจบการศึกษาสถานประกอบการก็พร้อมที่จะรับเข้าเป็นบุคลากร วิทยาลัยฯ ได้ดาเนินการ

4.2) การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน

4.2.1) เชิงปริมาณ : ร้อยละของสาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการระดมทรัพยากรเพื่อการ จัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 100

4.2.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม โดยวิทยาลัยฯมีโครงการประสานความร่วมมือด้านการบริจาคเพื่อการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมให้นักเรียนนักศึกษา บุคลากร ครู มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในด้านวิชาการ สามารถนาความรู้ไปใช้ และส่งเสริมการเรียนการสอนให้เกิดคุณภาพ และมีเครือข่ายความร่วมมือได้รับบริจาคอุปกรณ์ ทุนการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญ และปัจจัยในการจัดการศึกษาจาก หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเช่น บริษัทผลธัญญะ จากัด Shell Eco Marathon บริษัท Honda จากัด มูลนิธิทิสโก้ คุณประพนต์ อัมระพยางฆ์ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) นักเรียนนักศึกษาได้รับความรู้จากวิทยากรจากภายนอกร้อยละ 100 ผลการดาเนินงานได้รับการระดมทรัพยากรและเกิดผลตามวัตถุประสงค์โครงการ โดยมีการประเมินผลเพื่อนามาพัฒนาในปีการศึกษา 2562 ต่อไป

4.2.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯได้รับการบริจาคเงินทุน อุปกรณ์ และบุคลากรที่เป็นผู้เชี่ยวชาญมาบรรยานสร้างความเชื่อมั่นให้กับองค์กรทและบุคลากร ทั้งภายใน ภายนอก ถึงคุณภาพในการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา เกิดเครือข่ายขยายวงเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเพิ่มขึ้นทั้งจากศิษย์เก่าที่ประสบความสำเร็จ และหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

4.3) การบริการชุมชนและจิตอาสา

4.3.1) เชิงปริมาณ : จานวนกิจกรรมในการบริการชุมชนและจิตอาสา 14 กิจกรรม

4.3.2) เชิงคุณภาพ : วิทยาลัยฯจัดให้มีการบริการชุมชน บริการวิชาชีพ และจิตอาสามานานเกือบ 20 ปี โดยให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่ให้การบริการโดยอยู่ในความควบคุมดูแลของผู้บริหาร และครูที่รับผิดชอบ โดยจัดให้มีบริการบารุงรักษาที่เกี่ยวกับยานพาหนะ เครื่องยนต์ต่างๆ ที่ใช้ในงานประจาวัน ตลอดจนกิจกรรมจิตอาสาที่เกิดขึ้นในวาระต่างๆ ที่ได้รับการร้องขอจากหน่วยงานของรัฐ ชุมชน วัดผลการประเมิน และกิจกรรมในการบริการชุมชนและจิตอาสา ผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพดีเลิศ

4.3.3) ผลสะท้อน : หน่วยงานของรัฐ ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น วัด ให้การยอมรับและพอใจวิทยาลัยๆ ในการจัดให้ผู้เรียนที่มีความรู้ ทักษะได้ออกบริการชุมชน และงานจิตอาสาในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง ตลอดจนต่างพื้นที่ที่ห่างไกล

4.4) ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา

4.4.1) เชิงปริมาณ : ความเร็วของสัญญาณอินเทอร์เน็ต และครอบคลุมพื้นที่ใช้งานของ สถานศึกษา 300 Mpbs

4.4.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินและข้อมูลระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา วิทยาลัยฯจัดให้มีการพัฒนาความเร็วของอินเตอร์เน็ตตามยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เพื่อให้ทันต่อความต้องการของการใช้ติดต่อสื่อสาร โดยผู้ใช้งานทุกคนภายในวิทยาลัยฯ สามารถใช้ความเร็วของสัญญาณได้เท่าๆกัน ผ่านการจัดการระบบแบบ Manage Balance เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ส่วนงานด้านสารสนเทศนั้น วิทยาลัยฯใช้ระบบบริหารงานวิทยาลัยฯ ชื่อว่า MIS-SCHOOl ซึ่งเป็นระบบการจัดการ และสามารถนาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ได้ตามความต้องการ

4.4.3) ผลสะท้อน : ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในวิทยาลัยฯ พบว่าจากผลการตอบแบบสอบถามจากผู้ใช้งานทั้ง 3 กลุ่มได้แก่ผู้บริหาร ครู-บุคลากร และนักเรียน พบว่ามีระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ 4.03 มาจากที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้โดยทุกคนจะมีรายละเอียดชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านสาหรับการใช้รวมถึงความเร็วที่เข้าใช้นั้น ทุกคนจะใช้ความเร็วของสัญญาณอินเตอร์เน็ตได้เท่าๆกัน รวมถึงการใช้ข้อมูลสารสนเทศที่มาจากระบบบริหารจัดการ MIS-SCHOOL อีกด้วย รวมทั้งวิทยาลัยฯยังนาข้อมูลสารสนเทศบางส่วนเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของวิทยาลัยที่ www.panja.ac.th

4.5) การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน

4.5.1) เชิงปริมาณ : จานวนห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในการ จัดการเรียนการสอน 34 ห้อง

4.5.2) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ในการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 68

4.5.3) ผลสะท้อน : ครูผู้สอนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนการสอน การใช้สื่อ ประกอบการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ ทาให้นักศึกษามีความสนใจในการค้นคว้าหาความรู้จากสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างมีคุณภาพ ตลอดจนความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ 3.98 อยู่ในระดับมาก พบว่าในข้อที่ครูสามารถค้นหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตเพื่อใช้ในการเตรียม และจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รวมถึงนักเรียนสามารถเข้าถึงการใช้อินเตอร์เน็ตภายในห้องเรียนเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนของครูผู้สอนในรายวิชาได้เช่นกัน แต่ก็ยังไม่คลอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด เนื่องบางส่วนยังอยู่ในส่วนที่วางแผนและพัฒนาต่อไป ในการจัดระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของวิทยาลัยฯ ซึ่งมีห้องเรียนที่อยู่ในอาคารปัญยาลักษณ และอาคารเทพประทาน ส่วนอาคารเทียนสว่างอยู่ระหว่างการปรับปรุง ซึ่งมีห้องเรียนจานวน 6 ห้อง ทางวิทยาลัยฯ แก้ปัญหาเบื้องต้น โดยจัดใช้ห้องเรียนที่จาเป็นต้องมีสัญญาณอินเทอร์เน็ตเข้าถึงในการเรียนรายวิชาที่จำเป็น

4.2.2 จุดเด่น

1. วิทยาลัยฯมีครูผู้สอนส่วนใหญ่ที่มีอายุงาน และประสบการณ์สอนมากกว่า 10 ปี สอนตรงตามความรู้ ความสามารถ แก้ไขและบริหารจัดการชั้นเรียนได้ตามสถานการณ์ ผ่านกระบวนการนิเทศการสอนทุกคน และสามารถนาผลการนิเทศไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน จัดทาแผนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญสอน มีเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย มีการบูรณาการคุณธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ สอดแทรกปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีการรวัดผลและประเมินผลที่หลากหลาย
2. วิทยาลัยฯ มีการบริหารการเงินและงบประมาณ สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจาปี ในด้านวัสดุฝึก อุปกรณ์และสื่อสาหรับการจัดการเรียนการสอน การบริการวิชาการและวิชาชีพ การส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและผู้เรียนจัดทาและดาเนินการจัดประกวด จัดแสดงโครงการ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย การดาเนินงานตามโครงการกิจกรรม ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนใช้ความรู้ความสามารถไปบริการวิชาการวิชาชีพหรือทาประโยชน์ต่อชุมชน มีการรายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ เพื่อเป็นการเปรียบเทียบระหว่างแผนที่วางไว้กับการดาเนินงานตามสภาพจริง
3. วิทยาลัยฯ ยังคงใช้ระบบฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ (MIS) ที่ครอบคลุมงานบริหารจัดการและเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายถึงกันทั้งในส่วนข้อมูลนักเรียน งานบุคลากร งานการเงิน งานทะเบียน งานปกครอง งานวิชาการ ระบบห้องสมุด ทาให้วิทยาลัยฯ มีข้อมูลพื้นฐานเพื่อการตัดสินใจที่เป็นปัจจุบัน และประสานเป็นเครือข่ายตลอดจนมีระบบความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการข้อมูล ซึ่งครูและบุคลากรสามารถเข้าใช้งานคอมพิวเตอร์ได้อย่างรวดเร็ว

4.2.3 จุดที่ควรพัฒนา

1. การพัฒนาตนเองของบุคลากร (ID PLAN)
2. การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะในรายวิชาอื่นๆ ในสาขาวิชาทั้ง ปวช.และ ปวส.
3. ครูและบุคลากรของแต่ละฝ่าย ควรพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลและข่าวสารใหม่ ๆ อย่างสม่าเสมอและเพิ่มขึ้น ทันต่อความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
4. วิทยาลัยฯ เป็นสถาบันการศึกษาเอกชน ทาให้ไม่มีบุคคล ชุมชน สมาคม ชมรม สถานประกอบการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมมือช่วยเหลือในการมอบทุนการศึกษาให้แก่ผู้เรียนค่อนข้างน้อย หรือถ้ามีก็ค่อนข้างที่จะต้องตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียน นักศึกษาอย่างละเอียด และใช้เวลาในการพิจารณาค่อนข้างล่าช้ามาก

4.2.4 ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำ วิทยาลัยฯ ได้เตรียมการเพื่อปรับแผนการปฏิบัติการในปีการศึกษา 2562 โดยปรับและเพิ่มแผนงาน โครงการเพื่อให้เกิดผลคุณภาพเพิ่มขึ้นโดย

1. วิทยาลัยฯ ควรจัดให้มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้ให้ถูกต้องตามระเบียบ ขั้นตอนของต้นสังกัด เช่น การจัดการระบบทวิภาคี การพัฒนาตนเองของบุคลากร (ID PLAN)
2. วิทยาลัยฯ ควรจัดให้ครูให้เข้ารับการอบรมขั้นต่าให้มีจานวนมากขึ้นและหลากหลายเนื้อหาในรูปแบบการฟัง การอภิปราย การบรรยาย หรือการอบรมเชิงปฏิบัติการทั้งที่ตรงตามวุฒิที่สอนและสัมพันธ์กับวิชาที่สอน
3. วิทยาลัยฯ ควรจัดการอบรมในเรื่องการใช้ระบบฐานข้อมูลของวิทยาลัยฯ บ่อยๆ และให้มากขึ้นกว่าเดิม เนื่องจากระบบอาจมีเนื้อหามาใหม่เพิ่มขึ้นและเพื่อกระตุ้นให้ครู บุคลากรมีความกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเอง
4. วิทยาลัยฯ ควรจัดหาหรือระดมทรัพยากรจากหน่วยงานภายนอกเพิ่มขึ้นโดยการเข้าถึงหน่วยงาน สถานประกอบการหลายๆ หน่วยงานให้เพิ่มขึ้นจากเดิมและต้องเป็นหน่วยงานที่หลากหลาย แตกต่างกันออกไป