สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาผู้เรียนและคนในชุมชนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้
1. ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้
1.1) การพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพ
1.1.1) เชิงปริมาณ :
1. จานวนครูผู้สอนที่มีจัดทาแผนพัฒนาตนเองและเข้าร่วมการพัฒนา วิชาชีพ 0 คน
2. จานวนครูผู้สอนที่ได้รับการพัฒนาตนเองอย่างน้อย 12 ชั่วโมงต่อปี 42 คน
3. จานวนครูผู้สอนที่นาผลจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพใช้ ในการจัดการเรียนการสอน 42 คน
4. จานวนครูผู้สอนที่มีผลงานจากการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ 42 คน
5. จานวนครูผู้สอนที่มีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนา วิชาชีพที่ได้รับการยอมรับหรือเผยแพร่ 0 คน
1.1.2) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของครูผู้สอนที่ได้รับการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ 60%
1.1.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยมีบุคลากรด้านการสอนที่มีคุณภาพ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทัต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ทาให้ผู้เรียนมีคุณภาพ เมื่อสำเร็จการศึกษา สามารถปฏิบัติงานในสถานประกอบการและหน่วยงานอื่นๆ อย่างมีคุณภาพ ในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาของวิทยาลัยฯ ทั้งหมด ไม่เคยผ่านการอบรมการจัดทาแผนพัฒนาตนเอง (ID PLAN) เนื่องจากไม่มีการแนะนาจากต้นสังกัด จึงไม่สามารถผลิตผลงานจากการพัฒนาตนเองได้ แต่วิทยาลัยฯได้ดาเนินการให้บุคลากรได้รับการพัฒนาโดยจัดโครงการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องในทุกภาคเรียน และใหูู้เข้ารับการอบรมนาความรู้ไปดาเนินการสร้างผลงานสู่การจัดการเรียนการสอนรายงานให้ฝ่ายงานที่รับผิดชอบ
1.2) การบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม
1.2.1) เชิงปริมาณ : ร้อยละของครูและบุคลากรที่มีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษา 52 คน
1.2.2) เชิงคุณภาพ : วิทยาลัยฯ จัดให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนในการกาหนดมาตรฐานการศึกษา แผนพัฒนาสถานศึกษา แผนปฏิบัติงานประจาปี ผ่านการประชุมครูประจาเดือน การประชุมของกลุ่มงาน โดยกลุ่มงานต่างๆ นาผลการประชุม มาสังเคราะห์จนได้แผนต่างๆดังกล่าว ผลการประเมินคุณภาพ อยู่ในระดับดีเลิศ
1.2.3) ผลสะท้อน : การดาเนินงานของวิทยาลัยฯ ตลอดปีการศึกษาได้รับความร่วมมือจากบุคลากรทุกส่วนเพราะดาเนินการภายใต้มาตรฐาน แผนงาน โครงการที่ร่วมกันกาหนด ทาให้ผลการดาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย เกิดผลต่อผู้เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอก ผู้ปกครอง สถานประกอบการ และสังคม
1.3) การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา
1.3.1) เชิงปริมาณ : วิทยาลัย ฯ จัดให้มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง 300/300 M bps สาหรับบริหารจัดการภายในวิทยาลัยฯครบทุกฝ่าย โดยมีการจัดการผ่านระบบ Server แม่ข่าย ไปยังเครื่องลูกข่าย
1.3.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม โดยวิทยาลัยฯ ได้ดาเนินการโดยผู้บริหารจัดให้มีข้อมูล โดยนาระบบการจัดารการสถานศึกษา เข้ามาช่วยการในการจัดการ อีกทั้งมีการนาเทคโนโลยี โดยนาโปรแกรมการบริหารจัดการข้อมูลมาใช้ Mis-School เข้ามาช่วยในการจัดการข้อมูล ผ่านระบบ Server โดยครบทุกฝ่าย เช่น 1.งานวิชาการ 2.งานทะเบียนวัดผล 3.งานการเงิน 4.งานปกครอง 5.งานดูแลโดยผู้บริหาร 6.งานครูประจาวิชาและที่ปรึกษา เป็นต้น ซึ่งในแต่ละงาน ผู้เข้าใช้ระบบทุกคนจะมีชื่อผู้ใช้ และรหัสผ่านทุกคน และนาข้อมูลสารสนเทศไปใช้เผยแพร่ผ่าน เว็บไซต์ของสถานศึกษา www.panja.ac.th รวมถึงมีการประเมิน พัฒนา ปรับปรุงตลอดปีการศึกษา
1.3.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการที่หลากหลายและเป็นปัจจุบันทาให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการของผู้บริหาร และการปฏิบัติงานของครูผู้สอนและบุคลากรในทุกฝ่าย ลดปัญหาความซ้าซ้อน และลดระยะเวลาในการดาเนินงานลง
1.4) การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน
1.4.1) เชิงปริมาณ : ร้อยละของสาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการระดมทรัพยากรเพื่อการ จัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 100
1.4.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม โดยวิทยาลัยฯ มีโครงการประสานความร่วมมือด้านการบริจาคเพื่อการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมให้นักเรียนนักศึกษา บุคลากร ครู มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในด้านวิชาการ สามารถนาความรู้ไปใช้ และส่งเสริมการเรียนการสอนให้เกิดคุณภาพ และมีเครือข่ายความร่วมมือได้รับบริจาคอุปกรณ์ ทุนการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญ และปัจจัยในการจัดการศึกษาจาก หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น บริษัทผลธัญญะ จากัด, Shell Eco Marathon, บริษัท Honda จากัด ,มูลนิธิทิสโก้, คุณประพนต์ อัมระพยางฆ์, สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) นักเรียนนักศึกษาได้รับความรู้จากวิทยากรจากภายนอกร้อยละ 100 ผลการดาเนินงานได้รับการระดมทรัพยากรและเกิดผลตามวัตถุประสงค์โครงการ โดยมีการประเมินผลเพื่อนามาพัฒนาในปีการศึกษา 2562 ต่อไป
1.4.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ ได้รับการบริจาคเงินทุน อุปกรณ์ และบุคลากรที่เป็นผู้เชี่ยวชาญมาบรรยายสร้างความเชื่อมั่นให้กับองค์กรและบุคลากร ทั้งภายใน ภายนอก ถึงคุณภาพในการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา เกิดเครือข่ายขยายวงเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเพิ่มขึ้นทั้งจากศิษย์เก่าที่ประสบความสำเร็จ และหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
1.5) การบริการชุมชนและจิตอาสา
1.5.1) เชิงปริมาณ : จานวนกิจกรรมในการบริการชุมชนและจิตอาสา 14 กิจกรรม
1.5.2) เชิงคุณภาพ : วิทยาลัยฯจัดให้มีการบริการชุมชน บริการวิชาชีพ และจิตอาสามานานเกือบ 20 ปี โดยให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่ให้การบริการโดยอยู่ในความควบคุมดูแลของผู้บริหาร และครูที่รับผิดชอบ โดยจัดให้มีบริการบารุงรักษาที่เกี่ยวกับยานพาหนะ เครื่องยนต์ต่างๆ ที่ใช้ในงานประจาวัน ตลอดจนกิจกรรมจิตอาสาที่เกิดขึ้นในวาระต่างๆ ที่ได้รับการร้องขอจากหน่วยงานของรัฐ ชุมชน วัดผลการประเมิน และกิจกรรมในการบริการชุมชนและจิตอาสา ผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพดีเลิศ
1.5.3) ผลสะท้อน : หน่วยงานของรัฐ ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น วัด ให้การยอมรับและพอใจวิทยาลัยๆ ในการจัดให้ผู้เรียนที่มีความรู้ ทักษะได้ออกบริการชุมชน และงานจิตอาสาในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง ตลอดจนต่างพื้นที่ที่ห่างไกล