Panjavidhya Technological College

2.1 ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา

2.1 ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา

สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ผลสัมฤทธิ์

1.  ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา

ผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาด้านหลักสูตร อาชีวศึกษาตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้

1.1) การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ

1.1.1) เชิงปริมาณ : ร้อยละของประเภทวิชาที่จัดการเรียนการสอนมีการพัฒนาให้เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ คิดเป็นร้อยละ 100

1.1.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็น ระบบอยู่ในระดับคุณภาพดีเลิศ

1.1.3) ผลสะท้อน : หลักสูตรที่วิทยาลัยฯ ดาเนินการจัดการเรียนการสอนได้รับการพัฒนาให้เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้เรียน ผู้ปกครองและสถานประกอบการในการรับนักศึกษาเข้าฝึกงาน รวมทั้งรับผู้สำเร็จการศึกษาเข้าทางาน โดยได้ดาเนินการกาหนดให้ผู้สอนศึกษาความต้องการของตลาดแรงงาน จากการออกนิเทศนักศึกษาฝึกงานและจากเครือข่ายที่มีอยู่ในสถานประกอบการ มีการประสานงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อนาข้อมูลมาพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการ โดยได้พัฒนาหลักสูตรในรายวิชาจักรยานยนต์ โดยมีแบบสอบถามไปยังตัวแทนจาหน่ายแต่ละยี่ห้อ โดยเน้นการพัฒนาจากระบบคาร์บูเรเตอร์เป็นระบบหัวฉีด มีการเข้าร่วมประชุมคณะอนุกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษากลุ่มอาชีพรถจักรยานยนต์และเครื่องยนต์เล็กเอนกประสงค์ และผู้สอนได้ดาเนินการปรับแผนการจัดการเรียนการสอนใหม่จากระบบคาร์บูเรเตอร์เป็นหัวฉีดในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ซึ่งจะติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงในปีการศึกษาถัดไป

1.2) การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชาเพิ่มเติม

1.2.1) เชิงปริมาณ : จานวนสาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการพัฒนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิมหรือ กาหนดรายวิชาเพิ่มเติม 1 สาขาวิชา

1.2.2) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของสาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการพัฒนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิมหรือ กาหนดรายวิชาเพิ่มเติม คิดเป็นร้อยละ 50

1.2.3) ผลสะท้อน : หลักสูตรที่วิทยาลัยฯ ดาเนินการจัดการเรียนการสอนได้รับการพัฒนาให้เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้เรียน ผู้ปกครอง และสถานประกอบการในการรับนักศึกษาเข้าฝึกงาน รวมทั้งรับผู้สำเร็จการศึกษาเข้าทางาน โดยได้ดาเนินการกาหนดให้ผู้สอนศึกษาความต้องการของตลาดแรงงาน จากการออกนิเทศนักศึกษาฝึกงานและจากเครือข่ายที่มีอยู่ในสถานประกอบการ มีการประสานงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อนาข้อมูลมาพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการ โดยได้พัฒนาหลักสูตรในรายวิชาจักรยานยนต์ โดยมีแบบสอบถามไปยังตัวแทนจาหน่ายแต่ละยี่ห้อ โดยเน้นการพัฒนาจากระบบคาร์บูเรเตอร์เป็นระบบหัวฉีด มีการเข้าร่วมประชุมคณะอนุกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษากลุ่มอาชีพรถจักรยานยนต์และเครื่องยนต์เล็กเอนกประสงค์ และผู้สอนได้ดาเนินการปรับแผนการจัดการเรียนการสอนใหม่จากระบบคาร์บูเรเตอร์เป็นหัวฉีดในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ซึ่งจะติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงในปีการศึกษาถัดไป ซึ่งจะได้มีการเพิ่มหลักสูตรรายวิชาอื่นๆ ในรายวิชาอื่นๆ ในสาขางานต่อไป ในระดับ ปวส.

1.3) คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ

1.3.1) เชิงปริมาณ : ร้อยละของแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่มีคุณภาพ คิดเป็นร้อยละ 100

1.3.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับยอดเยี่ยม

1.3.3) ผลสะท้อน : ครูผู้สอนของวิทยาลัยฯ ส่วนมากมีอายุงาน และประสบการณ์สอนมากกว่า 10 ปี เข้าใจพื้นฐานและบริบทของผู้เรียนได้ง่าย ตลอดจนมีความสามารถ และทักษะในการจัดการเรียนการสอน แก้ปัญหาในชั้นเรียนได้ดี ส่งผลให้ผู้เรียน และผู้สำเร็จการศึกษา มีความรู้ ความสามารถ ตามหลักการ ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เรียน เป็นที่พึงพอใจของหน่วยงาน สถานประกอบการ ซึ่งเป็นผลมาจากการจัดแผนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่ผ่านการวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา เพื่อกาหนดหน่วยการเรียนมีคุณภาพทาให้เกิดการจัดเนื้อหาที่สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของผู้เรียนให้มีการเรียนรู้จากประสบการณ์ จัดให้มีการฝึกทักษะกระบวนการ และการจัดการ มีการผสมผสานเนื้อหาสาระด้านต่างๆ อย่างสมดุล ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดการส่งเสริมบรรยากาศการเรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และรอบรู้ จัดให้มีการเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ วิทยาลัยฯ กาหนดให้ครูผู้สอนจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติตามแนวทางที่ได้เคยจัดอบรมในอดีต ผ่านการตรวจสอบจากฝ่ายวิชาการนาเสนอผู้อานวยการอนุมัติในต้นปีการศึกษา มีการจัดปฏิบัติงานจริงภายในโรงฝึกงาน และสถานประกอบการตามวิธี Active Learning และการจัดทาโครงการ PjBL พร้อมทั้งใช้สื่อการเรียนการสอน เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมตลอดการสอนและการฝึกงาน กาหนดแนวทางการวัดและประเมินผลจากการกาหนดของฝ่ายวิชาการอย่างเป็นระบบ โดยให้ผู้สอนกาหนดวิธีการตามความเหมาะสม

1.4) การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและนาไปใช้ในการ จัดการเรียนการสอน

1.4.1) เชิงปริมาณ : จานวนครูผู้ที่จัดแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญและนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน 42 คน

1.4.2) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของครูผู้สอนที่จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและนาไปใช้ในการจัดการเรียนคิดเป็นร้อยละ 100

1.4.3 ผลสะท้อน : จากการจัดทาแผนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ยั่งยืนเพราะผู้เรียนได้สร้างความรู้ด้วยตนเอง เสริมสร้างวินัย ยอมรับฟังความคิดเห็นเป็นวิถีทางที่ดี เป็นการปลูกฝังประชาธิปไตยให้กับผู้เรียน อีกทั้งยังมีโอกาสได้สร้างความรู้และความรู้สึกทีดีผ่านกระบวนการทางานที่ครูออกแบบไว้ให้ ส่วนครูผู้สอนที่ประสบความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ก็จะสนุกในการทางาน เป็นคนช่างสังเกตและเอาใจใส่ผู้เรียนและมักได้ผลตอบสนองที่จากผู้เรียน แม้จะยังไม่มากในจุดเริ่มต้น แต่เมื่อปฏิบัติอย่างสม่าเสมอก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงของผู้เรียนในทางที่ดีขึ้น โดยมีการนิเทศการสอนจากฝ่ายวิชาการอย่างต่อเนื่อง และนาผลการนิเทศมาตรวจสอบ ปรับปรุงให้ครูผู้สอนดาเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนการสอนที่กาหนด